นักเรียนเก่า ที่มีชื่อเสียง

พระยานิติธารณพิเศษ


พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ มีนามเดิมวา วงศ  ลัดพลี เกิดเมื่อวันพุธที่ 14 มีนาคม 
พ.ศ. 2436 ที่ตําบลเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพระประแดง (ปจจุบันคือ จังหวัดสมุทรปราการ) 
เปนบุตรหลวงประจักษสมุทเขตร (จําปา  ลัดพลี) กับนางประจักษสมุทเขตร (เขียน  ลัดพลี) มี
พี่นองรวม 9 คน คือ
1. นางวาศ  สิทธิไชย
2. พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ
3. นายสวาง  ลัดพลี
4. นางจําเริญ  กาญจนพันธ
5. เรือตรีจํารัส  ลัดพลี
6. นางไสว  เมธิยนนท
7. นายสวิง  ลัดพลี
8. นายแสวง  ลัดพลี
9. นายประจวบ   ลัดพลี
เมื่อ พ.ศ. 2461 ทานไดสมรสกับคุณหญิงลัดพลีธรรมประคัลภ (ทิพวรรณ  ลัดพลี) ธิดา
พระยาผลากรนุรักษและคุณหญิงสงวน  เกาไศยนันท มีบุตรธิดารวม 8 คน คือ
1. นางสาวอําไพ  ลัดพลี
2. พันตํารวจเอกอุดม  ลัดพลี2
3. เด็กชายจรูญ  ลัดพลี
4. นายธรรมนูญ  ลัดพลี
5. เด็กชาย อายุ 4 วัน (ถึงแกกรรม)
6. นางโสภา  บุนนาค
7. นายแพทยรุงธรรม  ลัดพลี
8. นายเริงธรรม  ลัดพลี
ในป พ.ศ. 2488 คุณหญิงลัดพลีธรรมประคัลภไดลวงลับไป ตอมาในป พ.ศ. 2493 ทาน
ไดสมรสใหมกับนางอุไรพรรณ  มีธิดาดวยกัน 2 คน คือ
1. นางสาวอุษาวดี  ลัดพลี
2. เด็กหญิงยุกตวดี  ลัดพลี
ตอมาไดจดทะเบียนหยาขาดจากการสมรส เมื่อป พ.ศ. 2499
ประวัติการศึกษา
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ ไดรับการศึกษาขั้นตนจากโรงเรียนสุนทรสมุทร จังหวัด
สมุทรปราการ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนราชวิทยาลัย เริ่มเขาเรียนกฎหมาย 
ณ หองเรียนกฎหมายพิเศษ และโรงเรียนกฎหมายไทย เมื่อป พ.ศ. 2455 ในป พ.ศ. 2456 
กระทรวงยุติธรรมไดสงเขาศึกษากฎหมาย ณ สํานักเกรยส อินน (GRAY ‘S INN) กรุงลอนดอน 
ประเทศอังกฤษ และสอบไลไดเปนเนติบัณฑิตอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2459 หลักจากสําเร็จ
การศึกษากฎหมายจากประเทศอังกฤษแลว ไดเขาศึกษาที่โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม 
และสอบไลไดเปนเนติบัณฑิตไทย ชั้นที่ 1 (เกียรตินิยม) จากโรงเรียนกฎหมายกระทรวง
ยุติธรรม เมื่อป พ.ศ. 2461 และเปนสามัญสมาชิกเนติบัณฑิตยสภาในปเดียวกัน
ในป พ.ศ. 2500 ไดรับพระราชทานปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (กิตติมศักดิ์) 
จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและการเมือง ซึ่งนับเปนเกียรติยศอยางสูงของพระยาลัดพลี-
ธรรมประคัลภ
ประวัติการรับราชการ
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ เริ่มเขารับราชการเปนนักเรียนลามในกระทรวงยุติธรรม 
เมื่อป พ.ศ. 2455 เปนผูพิพากษาฝกหัด เมื่อป พ.ศ. 2460 ทานรับราชการดวยความวิริยะ
อุตสาหะ มีความเจริญกาวหนามาเปนลําดับ ทานดํารงตําแหนงที่สําคัญ ๆ ในทางการศาลหลาย
ตําแหนง เชน อธิบดีผูพิพากษาศาลโปริสภาและศาลจังหวัดเขตพระมหานคร อธิบดีผูพิพากษา
ศาลพระราชอาญาฯ และศาลคดีตางประเทศ รักษาราชการในตําแหนงอธิบดีผูพิพากษาศาล3
แพง อธิบดีผูพิพากษาศาลอุทธรณ ปลัดกระทรวงยุติธรรม จนถึงตําแหนงประมุขตุลาการ คือ 
ประธานศาลฎีกา
ในระหวางที่พระยาลัดพลีธรรมประคัลภดํารงตําแหนงประธานศาลฎีกาอยูนั้น ทานได
ทําคําวินิจฉัยในคดีสําคัญ ๆ และคําวินิจฉัยหลายเรื่องไดกลายเปนแนวทางที่ศาลทั้งหลายยึดถือ
ตลอดมา คดีที่นับไดวาเปนคดีประวัติศาสตรของประเทศไทยคดีหนึ่ง คือ คดีอาชญากร
สงคราม ซึ่งในคดีนั้นคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติอาชญากรสงครามไดยื่นฟองจอมพล 
ป. พิบูลสงคราม นายเพียร  ราชธรรมนิเทศ และนายสังข  พัฒโนทัย กลาวหาเปนใจความวา
สมัครใจเขารวมสงครามรุกรานกับญี่ปุน โดยรวมยุทธทางประเทศพมากับโฆษณาชักชวนให
เห็นชอบในการทําสงครามรุกราน การกระทําหลังสุดที่โจทกหาวาจําเลยไดกระทําผิด เกิด
ระหวางวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2486 ขอใหลงโทษตาม
พระราชบัญญัติอาชญากรสงคาม พุทธศักราช 2488 มาตรา 3(1) และมาตรา 4 ขอใหริบทรัพย
และเพิกถอนสิทธิออกเสียงเลือกตั้งดวย พระราชบัญญัติดังกลาวมีบทบัญญัติวา ไมวาการ
กระทําอันบัญญัติวาเปนอาชญากรสงครามนั้นจะไดกระทํากอนหรือหลังวันใชพระราชบัญญัตินี้ 
ผูกระทําไดชื่อวาเปนอาชญากรสงคราม และจะตองไดรับโทษดังที่บัญญัติไวทั้งสิ้น คดีนี้คือ คดี
ตามคําพิพากษาฎีกาที่  2-4/2489 ซึ่งศาลฎีกาโดยพระยาลัดพลีธรรมประคัลภเปนเจาของ
สํานวนรวมวินิจฉัยกับพระยาเลขวณิชธรรมวิทักษ พระยาธรรมบัณฑิตสิทธิศฤงคารและ
พระชัยประชาเปนองคคณะ ไดชี้ขาดวาพระราชบัญญัติอาชญากรสงคราม พุทธศักราช 2488 
เฉพาะที่บัญญัติยอนหลังใหการกระทํากอนวันใชพระราชบัญญัติเปนความผิดตาม
พระราชบัญญัติดวยนั้น ขัดกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและเปนโมฆะ การกระทํา
ที่โจทกฟองวา จําเลยไดกระทําผิดเกิดกอนวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2488 อันเปนวันที่
พระราชบัญญัติอาชญากรสงครามไดออกใชทั้งสิ้น เมื่อบทบัญญัติที่โจทกฟองขอใหเอาผิดแก
จําเลยเปนโมฆะอันจะลงโทษจําเลยไมได ศาลฎีกาจึงไมฟงคําพยานหลักฐานของโจทกในเรื่องนี้
ตอไปอีก แลวพิพากษาใหยกฟองโจทก ปลอยจําเลยพนขอหาไป คดีนี้เปนคดีตัวอยางอันสําคัญ
อยางยิ่งที่แสดงใหเห็นวาศาลยุติธรรมนั้นเปนที่พึ่งสุดทายของประชาชน หากระลึกถึงเหตุการณ
ของสงครามโลกครั้งที่สองสงบใหม ๆ ก็จะพบความจริงยิ่งขึ้น เมื่อ จอมพล ป. พิบูลสงคราม 
นายกรัฐมนตรี ผูบัญชาการทหารสูงสุดและผูนําชาติไทยในระหวางสงครามตองประสบมรสุม
ทางการเมืองอยางหนักจนถูกฟองเปนคดี ในบรรยากาศความผันผวนทางการเมือง หากศาล
มิไดวางตัวเปนกลาง มิไดยึดมั่นในวิชาชีพที่ไดเลาเรียนมา หรือมิไดสํานึกวาตนเปนที่พึ่งสุดทาย
ของประชาชนแลว ผลแหงคดีนี้จะเปนเชนไร ก็ยอมจะคาดหมายไดไมยากนัก แตในฐานะ
ประธานศาลฎีกา พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ ผูเขียนคําวินิจฉัยคดีนี้พรอมกับทานผูพิพากษา
องคคณะที่กลาวนามผูซึ่งไดสรางคุณงามความดีมาเปนเวลานานจนไดมานั่งในศาลฎีกานี้ 
ยอมจะทําหลงลืมหลักอาญาเบื้องตนที่วา บุคคลจักตองรับโทษในทางอาญาตอเมื่อไดกระทําการ
อันกฎหมายที่ใชในขณะกระทํานั้นบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว นั้นไมได4
ภายหลังทานไดลาออกจากตําแหนงประธานศาลฎีกา เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2496 
เพื่อไปดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม สืบแทนพระนิติธารณพิเศษ ในคณะ
รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ขณะที่ทานดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม 
ทานไดปรับปรุงฐานะของขาราชการตุลาการและขาราชการธุรการใหดีขึ้นกวาเดิมเปนอันมาก 
ทานดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมจนถึงวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2500 จึงพน
จากตําแหนง
นอกจากดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาที่ราชการดังกลาวแลว ในทางกฎหมาย พระยา
ลัดพลีธรรมประคัลภยังไดปฏิบัติหนาที่ราชการพิเศษอีกเปนจํานวนมาก อาทิ เปนประธาน
กรรมการรางพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแขวง ประธานกรรมการประมวลคําสั่ง ขอบังคับและ
ระเบียบราชการที่กระทรวงยุติธรรมไดสั่งไปยังศาลโดยตําแหนงปลัดกระทรวง ประธาน
กรรมาธิการวิสามัญ พิจารณารางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 
2482 ประธานกรรมการตรวจพิจารณาระเบียบราชการในกองกฎหมายโดยตําแหนง
ปลัดกระทรวง ประธานกรรมการพิจารณาการตั้งศาลและการพิจารณาของศาลในดินแดนที่ได
คืนมาเปนของไทย ประธานกรรมการ กอง 3 คณะกรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการ
พิจารณารางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประธาน
กรรมการแกไขพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการฝายตุลาการ พุทธศักราช 2485 ประธาน
กรรมการคณะกรรมการสอบสวนพฤติการณในการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท-
มหิดลเสด็จสวรรคต ประธานกรรมการตรวจพิจารณาขอเสนอเรื่องการปรับปรุงแกไขกฎหมาย 
ประธานกรรมการพิจารณาวางนโยบายของกระทรวงยุติธรรม เปนกรรมการตุลาการ
ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เปนสมาชิกฝายไทยในศาล
ยุติธรรมระหวางประเทศ (ศาลโลก) กรุงเฮก เปนประธานกรรมการดําเนินการรางพระราช
กฤษฎีกา กฎกระทรวง หลักเกณฑและวิธีการตาง ๆ เพื่ออนุวรรตตามรางพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการฝายตุลาการ พ.ศ. 2497 ยกฐานะขาราชการตุลาการและขาราชการธุรการให
สูงขึ้น
ในทางการศึกษา พระยาลัดพลีธรรมประคัลภเคยเปนอาจารยสอนกฎหมายในโรงเรียน
กฎหมายกระทรวงยุติธรรม เมื่อ พ.ศ. 2467 – 2468 และเคยดํารงตําแหนงคณบดีคณะ
นิติศาสตร มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง เมื่อ พ.ศ. 2495 รักษาการในตําแหนง
อธิการบดีมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง เมื่อ พ.ศ. 2498 และเปนศาสตราจารย
ประจําและศาสตราจารยพิเศษในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองอีกดวย
ดวยความวิริยะอุตสาหะในหนาที่ราชการอันเปนคุณประโยชนตอประเทศชาติ พระยา
ลัดพลีธรรมประคัลภ จึงไดรับพระราชทานยศครั้งสุดทายเมื่อป พ.ศ. 2473 เปน มหาอํามาตยตรี 
บรรดาศักดิ์ครั้งสุดทาย เมื่อป พ.ศ. 2471 เปนพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ มนูสมขันยุกตบดี5
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณเปนบําเหน็จแหง
คุณงามความดี ซึ่งนับเปนเกียรติยศอยางสูงยิ่งแกวงศตระกูล ดังนี้
พ.ศ. 2462 เหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา
พ.ศ. 2480 เหรียญจักรพรรดิมาลา
พ.ศ. 2495 มหาวชิรมงกุฎ
พ.ศ. 2496 มหาปรมาภรณชางเผือก
พ.ศ. 2497 ทุติยจุลจอมเกลาวิเศษและเหรียญรัตนาภรณ
ในปจฉิมวัยของชีวิตพระยาลัดพลีธรรมประคัลภไดมุงศึกษาธรรมที่ลานโมกขอยาง
จริงจังรวมกับทานพุทธทาสจนไดรับการยกยองจากชาวคณะธรรมทานวา “สหายธรรมทานคน
หัวปแหงชาวคณะธรรมทานทั้งหลาย” หลังจากนั้นทานไดประกอบกิจกรรมในทางธรรม
เรื่อยมา 
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภถึงแกอนิจกรรมดวยโรคหัวใจวายอยางสงบที่โรงพยาบาล
ศิริราช เมื่อวันศุกรที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2511 สิริรวมอายุได 75 ป
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภเปนตุลาการที่เคยดํารงตําแหนงสูงสุดในทางการยุติธรรมทั้ง
ในทางการศาล พลเรือนและการเมือง ในทางการศาลเปนประธานศาลฎีกา ในทางพลเรือนเคย
ดํารงตําแหนงสูงสุดของขาราชการประจํา คือ ตําแหนงปลัดกระทรวงยุติธรรม และในทาง
การเมืองเคยดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม ซึ่งนอยทานนักที่จะไดดํารง
ตําแหนงอันสูงสุดและมีเกียรติเชนทาน